Adobe Dreamweaver CS3
ประวัติความเป็นมาของโปรแกรม Dreamweaver
Adobe
Macromedia Dreamweaver
ผู้พัฒนา
อะโดบีซิสเต็มส์ (เริ่มพัฒนาโดย แมโครมีเดีย)
รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0)
รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ.ศ. 2550)
โอเอส Windows Mac OS X
ชนิด โปรแกรมแก้ไข HTML
ลิขสิทธิ์ Closed source
รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0)
รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ.ศ. 2550)
โอเอส Windows Mac OS X
ชนิด โปรแกรมแก้ไข HTML
ลิขสิทธิ์ Closed source
การใช้งานภาษาไทยใน Adobe Dreamweaver CS3 การใช้งานภาษาไทยในเวอร์ชั่นนี้
สามารถใช้งานภาษาไทยได้เลย เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จ โดยไม่ต้องตั้งค่าใด ๆ
ให้กับโปรแกรมเหมือนกับในเวอร์ชั่นก่อน ๆ
1. อธิบายบทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่มีต่อชีวิตประจำวันได้
แถบคำสั่ง (Menu Bar) เป็นแถบที่ใช้เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม
• แถบคำเครื่องมือ (Toolbar) รวบรวมปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย
• แถบวัตถุ (Object Palette) เป็นกลุ่มเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมวัตถุ บนชิ้นงาน เอกสารเว็บ เช่น เส้นกราฟิก (Horizontal Rule), ตาราง, รูปภาพ, เลเยอร์ (Layer)
• แถบแสดงสถานะ (Status Bar) คอยแสดงสถานะการทำงานต่างๆ ของเรา
• แถบควบคุมการทำงาน (Properties Palette) เป็นรายการที่ปรับเปลี่ยนได้ ตามลักษณะการเลือกข้อมูล เช่น หากมีการเลือกที่จะพิมพ์ หรือแก้ไขเนื้อหา รายการก็จะเป็น ส่วนทำงานที่เกี่ยวกับอักษร, การจัดพารากราฟ ถ้าเลือกที่รูปภาพ รายการในแถบนี้ ก็จะเป็นคำสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับ การควบคุมเรื่องรูปภาพ
• ส่วนของ Panel Group เป็นกลุ่มของแถบเครื่องมือที่สามารถเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บนอินเทอร์เน็ต เช่น การแทรก Code ของ JavaScript และ VBScript ลงในเว็บเพจได้อย่างง่ายๆ โดยสามารถเรียกใช้งานได้จาก Panel Group
เครื่องมือใหม่ ๆ ของ Adobe
Dreamweaver CS3 สำหรับเครื่องมือใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในเวอร์ชั่นนี้ที่เห็นได้ชัดคือ
แถบเครื่องมือ Spry ซึ่งจะช่วยให้การสร้างฟอร์มสะดวกขึ้น
แถบเครื่องมือ Spry มีหน้าที่ในการตรวจสอบค่าของข้อมูล
การทำงานกับภาษาต่างๆ
ดรีมวีฟเวอร์ สามารถทำงานกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนเว็บไซต์แบบไดนามิค ซึ่งมีการใช้ HTML เป็นตัวแสดงผลของเอกสาร เช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการจัดการฐานข้อมูลต่างๆ อีกด้วย และในเวอร์ชันล่าสุด (เวอร์ชัน CS4) ยังสามารถทำงานร่วมกับ XML และ CSS ได้อย่างง่ายดาย
ดรีมวีฟเวอร์ สามารถทำงานกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนเว็บไซต์แบบไดนามิค ซึ่งมีการใช้ HTML เป็นตัวแสดงผลของเอกสาร เช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการจัดการฐานข้อมูลต่างๆ อีกด้วย และในเวอร์ชันล่าสุด (เวอร์ชัน CS4) ยังสามารถทำงานร่วมกับ XML และ CSS ได้อย่างง่ายดาย
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver
Adobe Dreamweaver CS3
Adobe Dreamweaver CS3
อาจารย์ผู้สอนนายเจษฎา ดิษฐสุวรรณ ( ครูเต้ง)
วิชาคอมพิวเตอร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
มือถือ 080-7158480
1. อธิบายบทบาทและผลกระทบของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่มีต่อชีวิตประจำวันได้
2. สามารถวิเคราะห์แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ได้
3. เข้าใจความหมายของเว็บเพจ เว็บไซต์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
4. สามารถสังเคราะห์โครงสร้างเว็บไซต์ รวมถึงออกแบบได้
5. เข้าใจหลักการ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการออกแบบและจัดทำเว็บไซต์
6. มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างงาน
7. เข้าใจโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ระดับต่ำสำหรับการเขียนเว็บ
8. บอกวิธีการเขียนเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver ได้
9. วางแผนเลือกใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมกับงาน
10. ใช้เทคโนโลยีในการทำงาน การผลิต การออกแบบ การแก้ปัญหา การสร้างงาน
การสร้างอาชีพ
11. สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรสร้างงานเว็บเพจและเว็บไซต์ได้
11. สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรสร้างงานเว็บเพจและเว็บไซต์ได้
12. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึก
13. เข้าใจกระบวนการอัพโหลดเว็บ และสามารถใช้โปรแกรมนำเสนอเว็บไซต์ได้
ทำความรู้จักกับ Dreamweaver 8
อาจารย์ผู้สอนนายเจษฎา ดิษฐสุวรรณ ( ครูเต้ง)
วิชาคอมพิวเตอร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
มือถือ 080-7158480
โปรแกรมAdobe Dreamweaver CS3
การเปิดใช้งานโปรแกรม
หลังจากติดตั้งโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว สามารถเรียกใช้งานโปรแกรม ดังนี้ เรียกผ่านปุ่ม Start มีวิธีทำคือ คลิกที่ปุ่ม Start >> All Programs >> Adobe Dreamweaver CS3
การเริ่มกำหนดโครงสร้างของเว็บ |
ก่อนดำเนินการสร้างเว็บเพจ ขั้นแรกควรกำหนดให้ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอยู่ใน Folder เดียวกัน เพื่อง่ายต่อค้นหาและจัดเก็บตัวอย่างเช่นทำเว็บเพจของหน่วยงานก่อนอื่นเราควรสร้าง Folder ชื่อของหน่วยงานก่อนอาจเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยก็ได้ แล้วใน Folder หน่วยงานค่อยสร้าง Folder ย่อยอีกที อาจประกอบด้วยหลาย Folder ย่อย เพื่อใช้สำหรับแยกเก็บไฟล์ต่าง ๆ เป็นหมวดหมู่ เช่น ไฟล์รูปภาพ ไฟล์ HTML และ ไฟล์ Multimedia ต่างๆ การกำหนดโครงสร้างของเว็บที่ดี จะช่วยทำให้สามารถจัดการกับระบบต่างๆ ในเว็บได้ง่าย สามารถเรียกไฟล์เพื่อนำมาแก้ไขได้ในภายหลัง และยังทำให้ก่อความเป็นหมวดหมู่ภายในเนื้อหาเว็บไซต์ของเราอีกด้วย |
Open a Recent Item เป็นส่วนที่ใช้แสดงชื่อไฟล์ของงานเก่าที่เคยเปิด เราสามารถคลิกชื่อ ไฟล์เพื่อทำการเปิดได้จากส่วนนี้
Create New เป็นการสร้างหน้าเว็บเพจขึ้นมาใหม่ โดยจะมีไฟล์สคริปต์ให้เลือก
ใช้งาน ซึ่งตามปกติแล้วเราจะใช้ภาษา HTML ในการออกแบบเว็บไซต์ เมื่อต้องการเริ่มต้น
สร้างเว็บเพจให้คลิกคำสั่ง HTML
แถบคำสั่ง (Menu Bar) เป็นแถบที่ใช้เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม
• แถบคำเครื่องมือ (Toolbar) รวบรวมปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย
• แถบวัตถุ (Object Palette) เป็นกลุ่มเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมวัตถุ บนชิ้นงาน เอกสารเว็บ เช่น เส้นกราฟิก (Horizontal Rule), ตาราง, รูปภาพ, เลเยอร์ (Layer)
• แถบแสดงสถานะ (Status Bar) คอยแสดงสถานะการทำงานต่างๆ ของเรา
• แถบควบคุมการทำงาน (Properties Palette) เป็นรายการที่ปรับเปลี่ยนได้ ตามลักษณะการเลือกข้อมูล เช่น หากมีการเลือกที่จะพิมพ์ หรือแก้ไขเนื้อหา รายการก็จะเป็น ส่วนทำงานที่เกี่ยวกับอักษร, การจัดพารากราฟ ถ้าเลือกที่รูปภาพ รายการในแถบนี้ ก็จะเป็นคำสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับ การควบคุมเรื่องรูปภาพ
• ส่วนของ Panel Group เป็นกลุ่มของแถบเครื่องมือที่สามารถเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ง่ายในการสร้าง Application บนอินเทอร์เน็ต เช่น การแทรก Code ของ JavaScript และ VBScript ลงในเว็บเพจได้อย่างง่ายๆ โดยสามารถเรียกใช้งานได้จาก Panel Group
Adobe Dreamweaver CS
อาจารย์ผู้สอนนายเจษฎา ดิษฐสุวรรณ ( ครูเต้ง)
วิชาคอมพิวเตอร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
อาจารย์ผู้สอนนายเจษฎา ดิษฐสุวรรณ ( ครูเต้ง)
วิชาคอมพิวเตอร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
มือถือ 080-7158480
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น